การนำเสนอผลงาน : การประชุมวิชาการระดับชาติ
ชื่อเรื่อง:คคนางค์ ลิขิตวิวัฒน์ ปราโมทย์ คูวิจิตรจารุ และ บุศรากรณ์ มหาโยธี. 2563. อิทธิพลของชนิดน้ำตำลต่อกระบวนกำรออสโมซิสของมะม่วง. โครงการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 10 เรื่อง“การยกระดับคุณภาพการศึกษาและพัฒนามนุษย์ในศตวรรษที่ 21”
บทคัดย่อ:งานวจิ ัยนศี ึ้กษาอิทธิพลของชนิดนา้ ตาลต่อกระบวนการทาแห้งด้วยวิธีออสโมซิสของมะม่วง โดยศึกษาผล ของนา้ ตาล 4 ชนิด ได้แก่ ซูโครส กลูโคส ฟรุกโทส และไซโคส โดยเตรียมชิน้ มะม่วงพันธ์แุ ก้วขมนิ ้ ขนาด 2 × 2 × 1 เซนตเิ มตร ที่มีระดับการสุกพอเหมาะ พิจารณาจากปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทัง้ หมด 17.2 – 18.2 องศาบริกซ์ นา ชิน้ ตัวอย่างแช่ลงในสารละลายออสโมติก ที่ความเข้มข้น 40 องศาบริกซ์ ควบคุมอุณหภูมิที่ 30 องศาเซลเซียส ศึกษา การเข้าสู่สมดุลของการแพร่ของนา้ ตาลแต่ละชนิด โดยสุ่มตัวอย่างขึน้ มาชงั่ นา้ หนัก วัดปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ทัง้ หมด และปริมาณความชืน้ ทุกๆ 30 นาที พบว่า การแพร่ของนา้ ตาลซูโครสเข้าสู่สมดุลที่เวลา 210 นาที โดยที่เวลา สมดุลชิน้ มะม่วงมีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทัง้ หมด 22.9 องศาบริกซ์ คดิ เป็นร้อยละของของแข็งที่เพิ่มขึน้ เท่ากับ 2.22 ซงึ่ มคี ่าน้อยที่สุด และปริมาณนา้ ที่สูญเสียร้อยละ 13.35 ในขณะที่การแพร่ของนา้ ตาลกลูโคส ฟรุกโทส และ ไซโคส เข้าสู่สมดุลที่เวลา 150, 180 และ 180 นาทีตามลา ดับ และมีค่าปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทัง้ หมดที่เวลา สมดุล 26.3, 26 และ 28.5 องศาบริกซ์ตามลา ดับ และปริมาณของแข็งทเี่ พิ่มขึน้ ร้อยละ 4.90, 6.44 และ 6.50 ตามลา ดับ และปริมาตรนา้ ที่เพมิ่ ขึน้ ร้ายละ 20.40, 17.54 และ 18.50 ตามลา ดับ
In this research, effect of type of sugar including sucrose, glucose, fructose, and psicose on osmotic dehydration process of mango was studied. Mango cv. Kaew-Kamin were prepared into 2 × 2 × 1 cm pieces with a total soluble solid of 17.2 – 18.2 Brix. The samples were soaked in osmotic solutions at the concentration of 40 Brix, at 30 C to study the diffusion of each sugar. Samples were taken every 30 min to determine weigh, total soluble solid, and moisture. The results showed that, diffusion of sucrose reached the equilibrium in 210 min with the total soluble solids of 22.9 Brix representing a solid gain of 2.22 % and water loss of 13.35 %, while it took 150, 180 and 180 min for glucose, fructose and psicose respectively with the total soluble solids of 26.3, 26 and 28.5 Brix, respectively and in solid gain of 4.90, 6.44 and 6.50 % respectively. And in water loss of 20.40, 17.54 and 18.50 % respectively
ผู้จัดทำ:60403202 : นางสาวคคนางค์ ลิขิตวิวัฒน์
รองศาสตราจารย์ ดร.ปราโมทย์ คูวิจิตรจารุ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุศรากรณ์ มหาโยธี
รายงานฉบับสมบูรณ์:รายงานฉบับสมบูรณ์(docx)
รายงานฉบับสมบูรณ์(pdf)
Presentation:Presentation(pptx)
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
Tel 0-3424-2322 (สายตรง) หรือ 0-3410-9686 ต่อ 209300
E-mail: foodtech@su.ac.th
เว็บไซต์คณะฯ  เว็บไซต์มหาวิทยาลัยศิลปากร
Copyright © 2023 Department of Food Technology