การนำเสนอผลงาน : การประชุมวิชาการระดับชาติ
ชื่อเรื่อง:นารีนาถ พวงจีน และ บัณฑิต อินณวงศ์. (2559). การพัฒนากระบวนการวิเคราะห์ฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีอินฟาเรดย่านใกล้ใรไซรัปกล้วยตากเพื่อสุขภาพ การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 วันที่ 20-21 ตุลาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
Development of analytical method for fructooligosaccharides using NIR spectroscopy in functional banana fig syrup
บทคัดย่อ:ไซรัปกล้วยตากที่มีฟรุกโตโอลิโกแซคคาร์ไรด์สามารถวิเคราะห์ปริมาณฟรุกโตโอลิโกแซคคาร์ไรด์ ได้ด้วยเทคนิค high performance liquid chromatography (HPLC) ซึ่งเป็นเทคนิคที่มีค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นงานวิจัย นี้จึงได้พัฒนากระบวนการวิเคราะห์ฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรด์ด้วยเทคนิคสเปกโตรสโกปีอินฟราเรดย่านใกล้ (NIR) เพื่อใช้ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านคุณภาพในผลิตภัณฑ์ไซรัปกล้วยตากเพื่อสุขภาพ โดยเมื่อใช้เทคนิค NIR พบว่า สมการท านายปริมาณซูโครส กลูโคส ฟรุกโตส เคสโทส นีสโทส และฟรุกโตฟูเรโนซิลนีสโทส มีค่า สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R2) เท่ากับ 0.650, 0.540, 0.500, 0.727, 0.696 และ 0.737 โดยสมการท านาย ดังกล่าวมีความสามารถน าไปคัดเลือกและประมาณค่าองค์ประกอบทางเคมีของไซรัปกล้วยตากเพื่อสุขภาพ เบื้องต้นได้ จากผลดังกล่าวบ่งชี้ให้เห็นว่าเทคนิค NIR สามารถน ามาประยุกต์ในการวิเคราะห์ปริมาณฟรุกโตโอลิ โกแซคคาร์ไรด์ในไซรัปกล้วยตากได
Functional banana fig syrup (FBS) with fructooligosaccharides (FOS) was analyzed via high performance liquid chromatography technique (HPLC) was expensive and spent more time for analysis. The aim of this study was to develop analytical method of FOS via using near infrared spectroscopy technique (NIR) in quality monitoring of FBS. The result of prediction was found that coefficients of determination (R 2 ) of sucrose, glucose, fructose, kestose, nystose and fructofuranosyl nystose were 0.650, 0.540, 0.500, 0.727, 0.696 and 0.737, respectively. This equation can evaluate only the type of chemical components in FBS but cannot analyze the quantity of FOS. In the future work NIR should be able to analyze FOS in FBS.
ที่ปรึกษา:รองศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต อินณวงศ์
ผู้จัดทำ:57403209 : นางสาวนารีนาถ พวงจีน
รายงานฉบับสมบูรณ์:รายงานฉบับสมบูรณ์(docx)
รายงานฉบับสมบูรณ์(pdf)
Presentation:Presentation(pptx)
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
Tel 0-3424-2322 (สายตรง) หรือ 0-3410-9686 ต่อ 209300
E-mail: foodtech@su.ac.th
เว็บไซต์คณะฯ  เว็บไซต์มหาวิทยาลัยศิลปากร
Copyright © 2023 Department of Food Technology