การนำเสนอผลงาน : วารสารในประเทศ
ชื่อเรื่อง:อลิสรา เข็มทอง กนกวรรณ กิ่งผดุง (2554) การคิดต้นทุนกิจกรรมตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ในกระบวนการออกแบบสำหรับอุตสาหกรรมรีดแผ่นและเคลือบผิวพลาสติก, วิศวกรรมสาร มข., 38(4):411-420.
Activity Based Costing of Product Life Cycle in The Design Process for Plastic Calendaring and Coating Industry
บทคัดย่อ:การคิดต้นทุนแบบกิจกรรมมีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับองค์กรภาคการผลิตที่จะสามารถใช้เป็นวิธีการชี้วัดต้นทุนและสมรรถนะของกิจกรรม ตัวผลักดันทรัพยากร และตัวผลักดันต้นทุน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนาเสนอการประยุกต์ใช้วิธีการคิดต้นทุนแบบกิจกรรมและเปรียบเทียบผลของวิธีคิดต้นทุนแบบกิจกรรมและแบบเดิม สาหรับกระบวนการรีดแผ่นและเคลือบผิวในอุตสาหกรรมพลาสติก การคิดต้นทุนแบบกิจกรรมจะใช้คิดต้นทุนตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ซึ่งการคิดต้นทุนแบบกิจรรมตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ จะแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะการได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์และระยะดาเนินการผลิตผลิตภัณฑ์ โดยได้ทาการศึกษาในผลิตภัณฑ์ 3 กลุ่ม คือ ผลิตภัณฑ์กลุ่ม C ผลิตภัณฑ์กลุ่ม F และผลิตภัณฑ์กลุ่ม L ในระยะการได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ พบว่า ต้นทุนของผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบใหม่รวมทุกผลิตภัณฑ์ที่มีสัดส่วนตามศูนย์กิจกรรมสูงที่สุด คือ ศูนย์กิจกรรมการรับรองผลิตผลิตภัณฑ์และกระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 80.93 เป็นต้นทุนที่เกิดจากกิจกรรมย่อยของการวิเคราะห์ระบบวัด คิดเป็นร้อยละ 22.64 ในระยะดาเนินการผลิตผลิตภัณฑ์ พบว่า ต้นทุนแบบกิจกรรมรวมทุกผลิตภัณฑ์มีค่าสูงกว่าต้นทุนแบบเดิม คิดเป็นร้อยละ 57 โดยกิจกรรมที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายสูงที่สุด คือ ศูนย์กิจกรรมการผลิต คิดเป็นร้อยละ 10.90 เป็นต้นทุนที่เกิดจากกิจกรรมย่อยการอัดลาย คิดเป็นร้อยละ 5.90 ซึ่งรวมตลอดวงจรชีวิตมีต้นทุนแบบกิจกรรมรวมทุกผลิตภัณฑ์เท่ากับเดือนละ 454 บาทต่อเมตร โดยผลิตภัณฑ์กลุ่ม L มีต้นทุนตลอดวงจรชีวิตสูงที่สุดเท่ากับเดือนละ 660 บาทต่อเมตร รองลงมา คือ ผลิตภัณฑ์กลุ่ม C และผลิตภัณฑ์กลุ่ม F โดยมีต้นทุนเท่ากับเดือนละ 438 และ 265 บาทต่อเมตร ตามลาดับ เมื่อทาเปรียบเทียบต้นทุนตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์รวมทุกผลิตภัณฑ์กับราคาขาย พบว่า ต้นทุนแบบกิจกรรมตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์มีค่าสูงกว่าราคาขาย คิดเป็นร้อยละ 6 โดยกิจกรรมที่มีสัดส่วนค่าใช้จ่ายสูงที่สุด คือ ศูนย์กิจกรรมการเตรียมวัตถุดิบ คิดเป็นร้อยละ 13.30 ซึ่งผลิตภัณฑ์กลุ่ม C มีต้นทุนแบบกิจกรรมตลอดวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ที่สูงกว่าราคาขายมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 57.91
Activity Based Costing (ABC) which has become an important aspect of manufacturing organizations can be defined as a methodology that measures the cost and performance of activities, resources and cost drivers. The objective of this paper is to illustrate an application of ABC method and to compare the results of ABC with traditional costing methods, for the calendaring and coating processes in plastic industry. It can be considered as a Product Life Cycle (PLC) to ABC systems. PLC was studied in two phases, the Acquisition and the Production Phases. Three products (product C, product F, and product L) were used in the study. In the Acquisition Phase, the highest mixed cost of 80.93% for newly designed product was mainly from product and process validation activity. This included the 22.64% counted from the sub-activity for evaluating the measurement systems. In the Operation Phase, the cost of production activity was higher than that of the original product by 57%. The highest mix of activity cost was 10.90% from the production activity center, where the 5.90% was calculated from the sub-activity for embossing. The monthly total cost of PLC is 454 baht per meter. The first one is product L (660 baht per meter). The second one is product C (438 baht per meter).The last one is F (265 baht per meter). When comparing the total cost of all the products over the product life cycle and their selling price, the total cost was 6% greater than the selling price. The highest mix of activity costs was 13.30% from the raw material preparing activity center. The product C, the proportion of total cost of PLC was over selling price of 57.91%.
ผู้จัดทำ:ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ กิ่งผดุง
อลิสรา เข็มทอง
ระดับคุณภาพงานวิจัย:มีการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏอยู่ในประกาศของสมศ.
ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000
Tel 0-3424-2322 (สายตรง) หรือ 0-3410-9686 ต่อ 209300
E-mail: foodtech@su.ac.th
เว็บไซต์คณะฯ  เว็บไซต์มหาวิทยาลัยศิลปากร
Copyright © 2023 Department of Food Technology